วันพุธที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ. 2551

คำสั่งอื่นๆ

  1. at นั้นมีไว้สำหรับสั่งการให้โมเด็มซ้ำสตริงคำสั่งสุดท้าย โมเด็มจะ ปฏิบัติตามคำสั่งทันทีที่พิมพ์เครื่องหมาย/ ไม่จำเป็นต้องป้อนคำเติมหน้าคำสั่ง
  2. cpio ต้องการชื่อเต็ม (full pathname) ดังนั้นถ้าผู้ใช้ทำการอ้างชื่อ ไดเรกทอรีปลายทางแบบ relative
  3. bc คำสั่งเรียกใช้โปรแกรมคำนวณเลขของระบบ Unix,Linuxรูบแบบการใช้งาน bc [-lwsqv] [option] [file]ตัวอย่าง bc [Enter] 1+2 [Enter] 1^2 [Enter] a=3 [Enter] b=4 [Enter] a*b [Enter] x=2;y=5;x+y[Enter] [Ctrl-d] เพื่อออก หมายเหตุ:คำสั่งนี้จะใช้ได้ต้องInstall Packet ลงไปก่อน
  4. basename เป็นคำสั่งสำหรับสกัดเอาชื่อไฟล์ไฟล์โดยตัดส่วนขยายชื่อไฟล์ (file extension) .gif ออก
  5. last เป็นคำสั่งที่จะทำให้ loop หยุดทำงานและออกมาจาก loop ทันที
  6. crontab มีไว้เพื่อการตั้งเวลาทำงานคำสั่งหรือโปรแกรมล่วงหน้า ตามเวลาที่ ผู้ใช้ต้องการ แต่การเปิดอนุญาติเช่นนี้อาจสร้างปัญหาให้แก่ระบบ
  7. dd ใช้สำหรับจัดย่อหน้าสำหรับคำอธิบาย
  8. du แสดงการเนื้อที่ใช้งาน ของแต่ละ directory โดยละเอียด. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบรู้ว่า directory ใด ใช้เนื้อที่ใด หรือใช้ดูรวม ๆ
  9. dirname คือเปลี่ยนทั้งเจ้าของไฟล์และกลุ่มไปพร้อมกันทุกไฟล์ใน Sub dirname
  10. ln เป็นคำสั่งไว้สร้าง link ไปยังที่ ที่ต้องการ คลายกับ shortcut
  11. env แสดงค่า environment ปัจจุบัน
  12. eject คำสั่ง EJECT เป็นคำสั่งให้นำคำสั่งที่ตามหลังคำสั่ง EJECT ไปขึ้นหน้าใหม่ ทั้งนี้เพื่อให้แต่ละส่วนของโปรแกรมใหญ่ๆ ขึ้นหน้าใหม่ ส่วนคำสั่ง EJECT จะไม่ปรากฏใน Assembly Listing
  13. exec ที่ใช้ในการแทนค่าตัวแปรแล้วรันคำสั่งแบบพลวัต (dynamicly) บันทึกพฤติกรรมของ exec ไว้
  14. free แสดงหน่วยความจำที่เหลืออยู่บนระบบ โครงสร้างคำสั่ง free [-b-k-m] โดย option ที่มักใช้กันใน free คือ -b แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย byte -k แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย kilobyte -m แสดงผลลัพธ์เป็นหน่วย megabyteตัวอย่าง free free -b free -k
  15. groups
  16. hostname คำสั่งแสดงชื่อเครื่องที่ใช้อยู่ตัวอย่าง hostname
  17. lp
  18. mount คำสั่ง mount ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งเชื่อมต่ออุปกรณ์เข้ากับระบบ)รูบแบบการใช้งาน mount (-t type) DeviceDriver MountPointตัวอย่าง# การ Mount แบบที่1 CdRom mount -t iso9660 /dev/cdrom /mnt/cdromหรือ# mkdir /mnt/cdrom# mount_cd9660 /dev/cd0a /mnt/cdrom#การ Mount CdRom แบบที่2 mount /dev/cdrom (เมื่อmountแล้วCDจะอยู่ที่ /mnt/CdRom ยกเลิกดูคำสั่ง Unmount)
  19. mt คำสั่งกำหนดและแก้ไขรหัสผ่านของ User ของระบบ Unix,Linux ... คำสั่งกำหนดคำสั่งย่อ ของระบบ Unix,Linux
  20. nice คำสั่งหรือโปรอกรมเข้าสู่เครื่อง .... ติดต่อ nice หรือ ติดต่อผู้บริหารเว็บไซต์ + Powered by KnowledgeVolution
  21. nohup
  22. netstat จะแสดงเป็นตัวเลข IP ยากต่อการเดา และการดูจริงๆคุณต้องสังเกตที่ port ที่เครื่องคุณด้วยว่าเป็น port ที่ใช้ทำอะไร
  23. od แสดงเนื้อหาในไฟล์ไบนารี่
  24. pr คือส่วนหนึ่งของภาษา HTML. คุณสามารถใช้ BBCode ในข้อความที่คุณพิมพ์. และคุณสามารถยกเลิกการใช้ BBCode ในแต่ละข้อความได้ในแบบฟอร์มกรอกข้อความ. BBCode มีรูปแบบคล้ายๆกับภาษา HTML
  25. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
  26. printf รับค่าตัวแรกเป็นข้อความที่จัดรูปแบบการแสดงผล และรับรายการของข้อมูลที่ต้องการแสดงผลถัดไป. รูปแบบการแสดงผลจะถูกระบุโดยเครื่องหมาย % ตามด้วยอักษรแสดงรูปแบบ. ในกรณีนี้ %d ระบุว่าเราจะพิมพ์ตัวเลขฐานสิบ
  27. df คำสั่ง df ของระบบ Unix,Linux (เป็นการตรวจสอบการใช้พื่นที่บนฮาร์ดดิสก์)รูบแบบการใช้งานdf [option] [file]ตัวอย่าง df [Enter]
  28. printenv คำสั่งนี้จะแสดงค่าตัวแปลสภาพ แวดล้อม. ตัวอย่าง:. -เซ็ตค่าตัวแปรสภาพแวดล้อม. จะใช้คำสั่ง ‘setenv’
  29. pg เป็นคำสั่งใช้แสดง content ของไฟล์ ทั้งหมดทีละจอภาพ ถ้าต้องการแสดงหน้า ถัดไป ต้องกด แป้น enter; รูปแบบ. pg filename
  30. Quota
  31. rlogin ใช้เพื่อเปิดการเชื่อมต่อ ด้วย rlogin. rsh. ใช้เพื่อ execute คำสั่งแบบ Remote (การใช้คำสั่งทำงานบน Host อื่นแบบ Remote)

คำสั่งเกี่ยวกับการติดต่อสื่อสาร

  1. telnet ใช้ติดต่อเข้า server ต่าง ๆ ตาม port ที่ต้องการ แต่ ปัจจุบัน server ต่าง ๆ ปิดบริการ telnet แต่เปิด SSH แทน
  2. ftp เป็นคำสั่งที่ใช้ถ่ายโอนไฟล์ข้อมูลจากที่หนึ่ง ไปยังอีกที่หนึ่ง โดยการติดต่อกับ host ที่เป็น ftp นั้นจะต้องมี user name และมี password ที่สร้างขึ้นไว้แล้ว แต่ก็มี ftp host ที่เป็น public อยู่ไม่น้อยเช่นกัน ดังนั้นจะมี user name ที่เป็น publicเช่นกัน คือ user ที่ชื่อว่า anonymous ส่วน password ของ user anonymous นี้จะใช้เป็น E-mail ของผู้ที่จะ connect เข้าไปและโปรแกรมส่วนใหญ่ก็จะอยู่ใน directory ชื่อ pub
  3. lynx เป็นโปรแกรมเว็บบราวเซอร์ซึ่งทำงานด้วยข้อความล้วน ๆ ไม่สามารถแสดง รูปภาพได้ เริ่มต้นใช้งานด้วยการล้อกอินเข้าระบบด้วยยูสเซอร์
  4. mesg จะใช้เพื่อควบคุมว่าผู้อื่นมีสิทธิที่จะส่งข้อความ write ถึงเราหรือไม่. โครงสร้างคำสั่ง
  5. ping เป็นคำสั่งพื้นฐานในการตรวจสอบการสื่อสารข้อมูลระหว่างเครื่องส่งและ เครื่องรับ โดยจะส่งข้อมูลหรือแพ็คเกจขนาด 32K
  6. write ใช้เพื่อการส่งข้อมูลทางเดียวจากผู้เขียนไปถึงผู้รับบนเครื่องเดียวกันเท่านั้น

คำสั่งสำรองข้อมูล


  1. Tar เป็นคำสั่งเพื่อการ backup และ restore file

  2. Gzip ใช้ zip หรือ Unzip ไฟล์ packet โดยมากแล้วจะเป็น .tar เช่น$ gzip filename.tar ผลที่ได้จะได้ไฟล์ซึ่งมีการ zip แล้วชื่อ filename.tar.gz$ gzip -d filename.tar.gz ใช้ unzip ไฟล์ผลที่ได้จะเป็น filename.tar

  3. Gunzip เป็นคำสั่งสำหรับขยายไฟล์ที่ถูกบีบอัดให้มีขนาดเท่าเดิม รูปแบบ: gunzip

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการโปรเซส

  1. ps แสดง Process หรือโปรแกรมที่ประมวลผลอยู่ในระบบขณะนั้น. ช่วยให้ผู้ดูแล ระบบ ติดตามได้ว่ามีโปรแกรมอะไรที่ไม่ถูกต้อง run อยู่ หรือโปรแกรมอะไร
  2. kill คำสั่ง kill ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับยกเลิก Process)รูปแบบการใช้งาน kill [option] (process ID)ตัวอย่าง ps -A ดูหมายเลขที่ช่อง PIDของProcess ที่ต้องการลบ Kill -9 nnn แทนnnnด้วยหมายเลขPID -9 คือบังคับฆ่าให้ตาย
  3. fg เป็นทางที่สามในการส่ง Signals ให้แก่ process โดยการใช้ kill system call ซึ่งเป็นวิธีในการส่ง signal จาก 1 process ไปยังที่อื่น ๆ โดยสามารถใช้ได้ทั้ง “kill command” หรือ “fg command” ก็ได้ โดยต้องมีการ include signal.h ด้วย จึงจะสามารถใช้ฟังก์ชันต่าง ๆ ได้เช่น kill เป็นต้น ซึ่ง process จะหยุดการทำงานของตัวเองโดย การส่ง PID ตัวเองไปให้ฟังก์ชัน ใน signal.h จัดการ ดังตัวอย่างการเรียกใช้ฟังก์ชัน kill ในโปรแกรม
  4. bg
  5. jobs คำสั่ง jobs ของระบบ Unix,Linux (เป็นคำสั่งสำหรับกำหนดควบคุม การรับส่งผ่านข้อมูลของ Firewall)รูบแบบการใช้งาน jobsตัวอย่าง #sleep 20 & jobs

คำสั่งเกี่ยวกับการจัดการไฟล์

คำสั่ง เกี่ยวกับการจัดการไฟล์
  1. ls : ใช้แสดงรายชื่อแฟ้มทั้งหมดใน home direct
  2. cd : เป็นคำสั่งที่ใช้เปลี่ยนไปยังไดเรคทอรีย่อยของเครื่องคอมพิวเตอร์ปลายทาง ที่ต้องการ
  3. file :คำสั่งfileบนระบบ DOS/Windows นั้น ประเภทของแฟ้มข้อมูลจะถูกระบุด้วยนามสกุล แต่ใน UNIX จะไม่มีนามสกุลเพื่อใช้ระบุประเภทของแฟ้มข้อมูล ดังนั้นการหาประเภทของแฟ้มข้อมูลจะดูจาก Context ภายในของแฟ้ม ซึ่งคำสั่ง file จะทำการอ่าน Content และบอกประเภทของแฟ้มข้อมูลนั้นๆ
  4. pwd : แสดง directory ที่เราอยู่ปัจจุบัน
  5. Mv : ใช้ในการย้ายที่อยู่ (Move)หรือเปลี่ยนชื่อ(Rename)ไฟล์หรือ ไดเรคเทอรี.รูปแบบการใช้งาน
  6. MKdir : คำสั่งนี้เป็นคำสั่งในการสร้าง directory ขึ้นมา
  7. Rm : เป็นคำสั่งที่ใช้ลบข้อมูล file ข้อมูล เกิดได้หลายกรณี เช่น เกิดจากการ ftp ขึ้นมาวางไว้
  8. Rmdir : เป็นคำสั่งสำหรับการลบไดเร็คทอรี่ รูปแบบ: rmdir directory_name คือ ชื่อไดเร็คทอรี่ที่ต้องการลบ
  9. Chown : ใช้สำหรับเปลี่ยนเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory. โครงสร้างคำสั่ง. chown [ option]... owner[:group] file หรือ. chown [option]... :group file
  10. Cgrp : ใช้สำหรับเปลี่ยนกลุ่มเจ้าของแฟ้มข้อมูลหรือ Directory โครงสร้างคำสั่ง

วันจันทร์ที่ 27 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ประวัติของระบบปฏิบัติการ

ระบบปฏิบัติการในปัจจุบัน เป็นโปรแกรม ที่ถูกบรรจุอยู่ในแผ่นซีดีรอม เพื่อนำมาติดตั้งหลังจากประกอบเครื่องคอมพิวเตอร์ในส่วนของฮาร์ดแวร์เสร็จ ก่อนที่จะติดตั้งโปรแกรมใช้งานอื่น ๆ ต่อไป
ระบบปฏิบัติการ คือซอฟแวร์ตัวหนึ่งที่ถูกสร้างขึ้นมาเพื่อให้ ผู้ใช้ ใช้คอมพิวเตอร์ได้ง่ายขึ้น
  1. ติดต่อกับผู้ใช้
  2. ควบคุมอุปกรณ์ ( ฮาร์ดแวร์ )
  3. จัดสรรทรัพยากรในระบบให้ทำงานได้อย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ระบบปฏิบัติที่ผ่านมามีมากมายและเราได้คุ้นหูสำหรับคนที่ใช้คอม มานาน เช่น MsDos1, 2, 3, ... ,MsDos6.22 , Windows 3.1 , Windows 95 , Windows 95 Osr 2 ,Windows 98 , Windows 98 Se , Windows Me , Windows XP

ประวัติของระบบปฏิบัติการ ระบบปฏิบัติการโดยในขณะนี้มีอยู่และที่นิยมใช้กันมี 3 ระบบปฏิบัติการ คือ

  1. ระบบปฏิบัติการ Windows ของ Microsoft
  2. ระบบปฏิบัติการ Linux
  3. ระบบปฏิบัติการ Unixระบบ

ปฏิบัติการของบริษัท ไมโครซอพท์ สำหรับเครื่อง เดสก์ทอป และ แลปทอป สามารถแบ่งได้เป็น 3 ตระกูลคือ

  1. 1. MS-DOS
  2. 2. Windows (3.1, 95, 98, ME)
  3. 3. Windows NT, Windows 2000, Window XP

1. MS-DOS ( Microsoft-Disk Operation System )

MS-DOS 1,2,3,... ระบบปฏิบัติการแบบ 16 บิต แบบที่เรียกว่า Real Mode คือต้องพิมพ์คำสั่งสำหรับใช้งานซึ่งยากต่อการจดจำ

ราวปี ค.ศ. 1981 IBM ยักษ์ใหญ่ในวงการคอมพิวเตอร์ในขณะนั้นได้ผลิตเครื่อง PC ( Personal Computer ) แปลว่า เครื่องคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคล เริ่มจากรุ่น IBM PC 8088 เป็นคอมพิวเตอร์แบบที่เขาเรียกว่า เรียลโหมด โดยตอนนั้นบริษัท ไมโครซอพต์ได้สร้างระบบปฏิบัติการ MS-DOS 1.0 เพื่อใช้ในคอมพิวเตอร์รุ่นนี้ โดยใช้ตัวแปลภาษาเบสิก สำหรับใช้บนซีพียู 8088 และ Z-802 ปีต่อมาได้พัฒนามาเป็นรุ่น MS-DOS 2.0 หน่วยความจำของระบบเพิ่มจาก 8 Kb ( จากรุ่น 1.0 ) เป็น 24 Kb แต่ยังคงเป็นบรรทัดคำสั่งที่ขอยืมมาจากของ Unix อยู่ เมื่อถึงปี 1986 บริษัท Intel ผลิตซีพียู 80286 ขึ้นมา ทาง IBM จึงสร้างเครื่องรุ่นที่เรียกว่า PC/AT ไมโครซอพท์ก็ได้สร้าง MS-DOS 3.0 มารองรับการทำงานเช่นกัน ตอนนั้นประสิทธิภาพของซีพียูไปไกลกว่าอุปกรณ์ คือ ซีพียู 80286 สามารถวิ่งได้ที่ความเร็ว 8 เมกกะเฮิร์ต โดยใช้หน่วยความจำได้ถึง 16 Mb แต่คอมพิวเตอร์ขณะนั้นมีหน่วยความจำเพียง 1-2 Mb เนื่องจากในขณะนั้นหน่วยความจำราคาแพงมาก

2. Windows ( 3.1,95,98 ,ME )

Ms-Dos ตัวสุดท้ายเป็น 6.22 , จากนั้น Windows1,2 ออกมาทดลองตลาด ( แต่ไม่แพร่หลาย ) เมื่อปี 1992 จึงพัฒนามาเป็น Windows 3.0 และ 3.1 ระบบปฏิบัติการแบบ Gui ( Graphic user interface ) โดยรวมรวมชุดคำสั่งออกมาเป็นภาพเพื่อให้คลิกได้ง่าย ๆ แทนการพิมพ์คำสั่ง ในขณะที่ MS-DOS 3.0 กำลังใช้กันอยู่ ก็มีระบบ Mac ของบริษัท Apple ที่ใช้ในเครื่อง Apple Macintosh ดังขึ้นมา ทาง ไมโครซอพท์จึงทำการสร้าง Windows1.0 ขึ้นมาในปี 1985 แต่ไม่ประสบความสำเร็จ ต่อมาในปี 1987 จึงออก Windows 2.0 สำหรับใช้กับเครื่อง PC/AT ของ IBM แต่ก็ยังไม่ดี

ปี 1980 เมื่อมีซีพียู 80386 ขึ้นมาจึงได้พัฒนามาเป็น Windows 3.0 และ 3.11 เวอร์ชั่นนี้ได้รับความสำเร็จเป็นอย่างมากมาย อย่างไรก็ตามระบบ Windows 3.1 ก็ยังถือว่าเป็นระบบที่ติดต่อผู้ใช้ในแบบกราฟิก( Graphic user interface ) ของ MS-DOS เนื่องจาก MS-DOS ยังควบคุมการทำงานของเครื่องและระบบไฟล์อยู่ โปรแกรมทั้งหมดยังทำงานบนแอ็ดเดรสเดียวกัน ซึ่งยังมีข้อผิดพลาด หรือที่เขาเรียกว่าบั๊ก ที่ทำให้เครื่องแฮ้ง ได้อยู่เสมอ

ปี 1995-1997 Windows 95 ได้ออกวางจำหน่าย ซึ่งเป็น ระบบ แบบ 32 บิตรุ่นแรก ที่มีการทำงานแบบที่เรียกว่า Multitasking หรือสามารถทำงานได้หลาย ๆ อย่าง ในเวลาเดียวกัน และคุณสมบัติโดดเด่นก็คือ Plug and Play ทำให้ติดตั้งอุปกรณ์ใหม่ ๆ เข้าใปได้ง่ายขึ้น อย่างไรก็ตามก็ถือว่ายังแยกตัวออกมาจาก MS-DOS อย่างไม่สมบูรณ์ ( ยังเป็นแบบ 32 ที่ถือว่ายังไม่สมบูรณ์ ) ยังมีโค๊ดแบบ 16 บิตภาษาแอสเซ็มบลีอยู่ และระบบไฟล์ที่เป็นของ MS_DOS อยู่ แต่การเปลี่ยนแปลงที่เห็นชัดเจนก็คือ การที่สามารถตั้งชื่อ และนามสกุลของไฟล์รวมได้ถึง 255 ตัวอักษร ( เดิม ชื่อไม่เกิน 8 และนามสกุลไม่เกิน 3 ) และประมาณปี 1997 Windows 95 ได้ถูกแก้ไขเล็กน้อยเป็น Windows 95 Osr 2.0 ในขณะนี้ MS-DOS ที่ถือว่าเป็นเวอร์ชั่นสุดท้าย ก็คือ DOS 6.22

และปี 1998 Windows 98 ก็ออกจำหน่าย ในเวอร์ชั่นนี้ ถือว่ายังรวมเอาโค๊ดของ MS_DOS อยู่ ( และหลายฝ่ายยังเรียก Dos รุ่นนี้ว่าเป็นรุ่น 7.1 ) เพื่อให้สามารถรองรับ แอปพลิเคชั่นเดิมของ MS-DOS ได้นั่นเอง ทำให้ยังไม่สามารถแยกตัวจาก MS-DOS ได้อย่างเด็ดขาด อย่างไรก็ตาม Windows 98 เปลี่ยนมาใช้ระบบไฟล์แบบ Fat 32 ทำให้ ฮาร์ดดิสก์มีขนาดใหญ่กว่า 2 GigaByte ได้ ( 2 กิกะไบต์ ถึง 2 เทอร์ราไบต์ ) ต่อมาช่วงปี 1999 ได้ อัพเดทซอพแวร์และแก้ไขบั๊กบางส่วนเป็น Windows 98 Se ช่วงนี้ Microsoft ประกาศจะหยุดพัฒนา Windows 9x และหันมาพัฒนาและวางตลาด Windows 2000 แต่ ปี 2000 กลับมี WindowsMe ( ซึ่งก็แปลว่า 2000 ) ออกมาเหมือน Windows 9x อีก หนึ่งอัลบั้ม ทำให้เกิดการงงกันเล็กน้อยแต่สาเหตุที่ออกตัวนี้มาก็เพราะว่ามีการพบข้อผิดพลาดของ Windows 98 ( เขาเรียกว่าแก้บั๊ก ) และเพิ่มประสิทธิภาพทางด้านมัลติมีเดีย , กราฟิก และ เน็ตเวิร์ค เพื่อรักษา ตลาดเดิมของ Windows9x 3. Windows NT, Windows 2000 จาก Windows 95 ( กลุ่มผู้ใช้ตามบ้าน ) เป็น Windows NT ( กลุ่มองกร หรือระบบเครือข่ายที่ใหญ่ขึ้น ) และได้กำเนิด Windows NT 4.0 ปลายปี 95 ส่วน Windows 2000 อาจเรียกได้ว่าก็คือ Windows NT 5.0 เป็นการรวมรูปแบบของ Windows 98 และ Windows NT 4.0 ไว้ด้วยกัน ในราว ๆ ปี 1985 IBM และ Microsoft ได้ร่วมกันพัฒนาระบบปฏิบัติการ OS/2 ที่เขียนด้วยภาษาแอสเซ็มบลี และช่วงนั้น ก็มีการสร้าง Windows NT ( NT ย่อมาจาก New Technology เพื่อมาสนับสนุน API ( Application-Programming Interface ) เวอร์ชั่นแรกของ NT คือ Windows NT 3.1 และ Windows NT 3.1 Advance Server ลักษณะเด่นก็คือระบบไฟล์แบบ NTFS ( New Technology File System ) ปี 1996 ถูกพัฒนามาเป็น Windows NT 4.0 ซึ่งถือว่ามีประสิทธิภาพสูงสุด เป็นระบบที่เชื่อถือได้มากกว่าและ ระบบความปลอดภัย เหนือกว่า Windows 95,98 หมายเหตุ : ส่วนใหญ่โค๊ดของ Windows NT จะเป็นภาษา C

Windows 2000 เป็นระบบปฏิบัติการแบบมัลติยูสเซอร์ แบบ 32 บิตที่แท้จริง ใช้สถาปัตยกรรม microkernel ( เช่นเดียวกับ Mach ) โดยแต่ละส่วนเป็นส่วนหนึ่งของระบบปฏิบัติการ และไม่เกิดผลกระทบกับส่วนอื่น ในด้านการรักษาความปลอดภัย Windows 2000 อยู่ในระดับ C2 ของกระทรวงกลาโหมสหรัฐ ทั้งในส่วนไฟล์ ไดเรกทอรี , โปรเซส และออปเจ็กต์ที่แชร์ต่าง ๆ นอกจากนี้ยังสนับสนุนการรันมัลติโปรเซสเซอร์ และอื่น ๆ อีกมากมาย ยังไงก็ตามต้องเลือกใช้ให้เหมาะสม Windows 2000 Professional ( เหมาะกับผู้ใช้ทั่วไป ) ส่วนที่เหลือจะใช้ในระบบองค์กรขนาดใหญ่ Windows 2000 Server Windows 2000 AdvanceServerWindows 2000 Datacenter

Windows XP ถือว่าพัฒนามาจาก Windows NT และ Windows 2000 เราจะพบว่าระบบความปลอดภัย ( Security ) เหมือน windows 2000 รุ่นต่าง ๆ ของ Windows XP ก็ออกมาหลายเวอร์ชั่นเท่าที่พบก็มี Windows XP Whistler Beta1 Windows XP Whistler Beta2 Windows XP Personal ในปัจจุบัน Windows XP มีหลายรุ่นให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม ดังนี้ คือ Windows XP Home เหมาะสำหรับผู้ใช้ทั่วไป Windows XP Pro เหนือกว่า Home ทางด้าน Network และเพิ่มคุณสมบัติบางประการ เหมาะสำหรับระดับ Power user Windows XP 64-Bit Edition ใช้กับ ซีพียู 64 บิต ( ตัวใหม่สุด ) ·

หมายเหตุ: Windows CE เป็นเวอร์ชั่นสำหรับเครื่องคอมพิวเตอร์ พกพา และคอมพิวเตอร์ขนาดเล็กรวมทั้ง Auto Pc ที่ใช้กันในรถยนต์ต่างประเทศ จะคล้าย ๆ กับ Windows 95

วันพฤหัสบดีที่ 16 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ระบบปฏิบัติการ 2

คำอธิบายรายวิชาระบบปฏิบัติการ 2
ศึกษาหลักการพื้นฐานของการวิเคราะห์ระบบ ผลกระทบต่อองค์กรในการใช้งานระบบข้อมูลสารสนเทศวงจรการพัฒนาระบบ การศึกษาความเป็นไปได้ การจัดการโครงการ การเก็บรวบรวมข้อมูล เพื่อการวิเคราะห์ระบบ การใช้เครื่องมือในการวิเคราะห์ระบบ การเขียนแผนภาพการไหลของข้อมูล การวิเคราะห์การประมวลผลคำ โครงสร้างภาษา ตารางการตัดสินสินใจ แผนภาพต้นไม้ การเตรียมโครงการ การเขียนรายงานโครงการ และการนำเสนอผลการวิเคราะห์ระบบ

E-Learning ระบบปฏิบัติการ
http://www.learn2gether.in.th
http://www.learn.in.th
http://www.kpi-learning.com
http://elearning.most.go.th
http://www.thaicai.com
http://www.radompon.com
http://www.thai-folksy.com
http://cptd.chandra.ac.th/kn/wbi

http://www.chulaonline.com/
http://www.cmuonline.info/
http://www.kanid.com/
http://www.dlf.ac.th/
http://www.el.au.edu/
http://www.onlinetraining.in.th/
http://www.dekgeng.com/

วันพุธที่ 15 ตุลาคม พ.ศ. 2551

ประวัติส่วนตัว

ประวัติส่วนตัว

นางสาวกาญจนา โนนสามารถ (อ้น)

เกิดเมื่อวันที่ 10 ตุลาคม 2531
โปรแกรมวิชา วิทยาการคอมพิวเตอร์ รหัสนักศึกษา 5012252244
มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ
ที่อยู่ 50/1 ม.3 ต.หนองแค อ.ราษีไศล จ.ศรีสะเกษ 33160

เพื่อน นายชาญชัย ยาศรี
นางสาวนงนุช แสงพฤกษ์
นางสาวพิชชาภา ดอนหลักคำ
e-mail aon_t1@hotmail.com
โทร 0874445410